Welcome in the demo
Another demo

ข้อมูลด้านสาธารณสุข

 

          1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองหัวคู เป็นสถานบริการสาธารณสุข ระดับปฐมภูมิ   ขนาด M  ขึ้นทะเบียน เป็น เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ( NPCU ) เมื่อปี เดือนกันยายน 2565 โดยมี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะคุ เป็นลูกข่าย

             อัตรากำลัง   พยาบาลวิชาชีพ                   จำนวน  คน                   

                                  นักวิชาการสาธารณสุข           จำนวน  คน

                                  เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข   จำนวน  คน

                                  แพทย์แผนไทย                    จำนวน  คน

                             พนักงานช่วยการพยาบาล       จำนวน  คน

                                  พนักงานช่วยเหลือคนไข้     จำนวน คน    

                                  อสม.                             จำนวน 95 คน

        

          2. ประชากร และการปกครอง

ตารางที่ 1จำนวนประชากรต่อ อสม.

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

จำนวน

หลังคาเรือน

จำนวนประชากร

จำนวน  อสม.

ชาย

หญิง

รวม

คน

หลังคาเรือนต่อ อสม.

1

บ้านหนองหัวคู  

281

635

652

1,287

21

13.3

3

บ้านหนองหัวคู 

143

310

359

669

12

11.8

4

บ้านโพธิ์ 

192

551

549

1,100

18

10.8

6

บ้านกุดเม็ก 

136

401

380

781

11

12.4

9

บ้านหนองหัวคู 

207

479

458

937

19

10.9

11

บ้านหนองหัวคู 

171

384

415

799

14

12.2

รวม

1,136

2,760

2,831

5,573

95

11.9

ที่มา : ข้อมูลประชากรจากโปรแกรมระบบฐานข้อมูล  (JHCIS ) ข้อมูล ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2566

 

           3. สถิติชีพ

          ตารางที่2   แสดงสถิติชีพเปรียบเทียบ 3 ปีย้อนหลัง (ปี 2564 – 2566)    หน่วย = พันคนต่อปี

สถิติชีพ

ปี  2564

ปี 2565

ปี 2566

อัตราเกิด

6.92

5.87

5.35

อัตราตาย

4.97

4.80

4.56

อัตราเพิ่ม

1.95

1.07

0.79

 สาเหตุการตาย   อันดับ 1 ได้แก่ โรคมะเร็งต่างๆ
                              อันดับ
2 ได้แก่ โรคแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน     
                              อันดับ 3 ได้แก่ โรคCKD      

ที่มา : จาก โปรแกรมระบบฐานข้อมูล  (JHCIS ) ข้อมูล ณ วันที่ 1 ตุลาคม2565  - 30กันยายน 2566

                     
         4. การเจ็บป่วยที่สำคัญ  ใน2566 พบว่าผู้ป่วยนอกที่เข้ารับบริการมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่
       ตารางที่ 3 แสดงการเจ็บป่วยที่สำค
                               อันดับ              อาการ                             จำนวน(ครั้ง)  

                              1.  โรคระบบหายใจ                                                   1,856

                        2. โรคระบบกล้ามเนื้อ รวมโครงร่างและเนื้อยึดเสริม       829

                        3. โรคระบบไหลเวียนเลือด                                     746

                        4. โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตาบิริซึม    527

                        5.โรคผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง                          365

 

    ที่มา : จาก รง.504 โปรแกรมระบบฐานข้อมูล  (JHCIS ) ข้อมูล ณ วันที่ 1 ตุลาคม2565  - 30กันยายน 2566

                                   

             5. สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
           
เป็นการแสดงถึงสถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 3 ปี ย้อนหลัง (2564- 2566) พบว่าโรคโควิด-19 พบมากที่สุด  รองลงมาคือ โรคอุจาระร่วง โรคตาแดง และโรคสุกใส  ตามลำดับ  

ตารางที่4 แสดงจำนวนและอัตราการเกิดโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 5 อันดับแรก เปรียบเทียบ 3 ปี

ปี 2564

ปี 2565

ปี 2566

อัน

ดับ

โรค

จำ

นวน

อัตรา :

1000

ลำ

ดับ

โรค

จำ

นวน

อัตรา:

1000

ลำ

ดับ

โรค

จำ

นวน

อัตรา :

1000

1

โควิด-19

14

2.51

1

อุจาระร่วง

9

1.61

1

อุจาระร่วง

12

2.15

2

อุจาระร่วง

9

1.61

2

ตาแดง

3

0.53

2

ตาแดง

4

0.71

3

ตาแดง

2

0.42

3

สุกใส

2

0.36

3

ไข้เลือดออก

2

0.36

4

สุกใส

1

0.18

4

อาหารเป็นพิษ

1

0.18

4

สุกใส

2

0.36

ที่มา : จาก รง.506 โปรแกรมระบบฐานข้อมูล  (JHCIS ) ข้อมูล ณ วันที่ 1 ตุลาคม2564  - 30กันยายน 2566

 

           6. อันดับกลุ่มโรค/ ภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่

                1. โรคเบาหวาน

                2. โรคความดันโลหิตสูง

                3. โรค CKD

                4. ยาเสพติด

                5. โรคไข้เลือดออก

 

ที่มา : จากการวิเคราะห์ปัญหา ของภาคีเครือข่ายในการร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการ เมื่อ 25 ตุลาคม 2566