ข้อมูลด้านสาธารณสุข1
- รายละเอียด
- ฮิต: 139
ข้อมูลด้านสาธารณสุข
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองหัวคู เป็นสถานบริการสาธารณสุข ระดับปฐมภูมิ ขนาด M ขึ้นทะเบียน เป็น เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ( NPCU ) เมื่อปี เดือนกันยายน 2565 โดยมี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะคุ เป็นลูกข่าย
อัตรากำลัง พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 2 คน
นักวิชาการสาธารณสุข จำนวน 2 คน
เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข จำนวน 1 คน
แพทย์แผนไทย จำนวน 1 คน
พนักงานช่วยการพยาบาล จำนวน 1 คน
พนักงานช่วยเหลือคนไข้ จำนวน 1 คน
อสม. จำนวน 95 คน
2. ประชากร และการปกครอง
ตารางที่ 1จำนวนประชากรต่อ อสม.
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวน หลังคาเรือน |
จำนวนประชากร |
จำนวน อสม. |
|||
ชาย |
หญิง |
รวม |
คน |
หลังคาเรือนต่อ อสม. |
|||
1 |
บ้านหนองหัวคู |
281 |
635 |
652 |
1,287 |
21 |
13.3 |
3 |
บ้านหนองหัวคู |
143 |
310 |
359 |
669 |
12 |
11.8 |
4 |
บ้านโพธิ์ |
192 |
551 |
549 |
1,100 |
18 |
10.8 |
6 |
บ้านกุดเม็ก |
136 |
401 |
380 |
781 |
11 |
12.4 |
9 |
บ้านหนองหัวคู |
207 |
479 |
458 |
937 |
19 |
10.9 |
11 |
บ้านหนองหัวคู |
171 |
384 |
415 |
799 |
14 |
12.2 |
รวม |
1,136 |
2,760 |
2,831 |
5,573 |
95 |
11.9 |
ที่มา : ข้อมูลประชากรจากโปรแกรมระบบฐานข้อมูล (JHCIS ) ข้อมูล ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2566
3. สถิติชีพ
ตารางที่2 แสดงสถิติชีพเปรียบเทียบ 3 ปีย้อนหลัง (ปี 2564 – 2566) หน่วย = พันคนต่อปี
สถิติชีพ |
ปี 2564 |
ปี 2565 |
ปี 2566 |
อัตราเกิด |
6.92 |
5.87 |
5.35 |
อัตราตาย |
4.97 |
4.80 |
4.56 |
อัตราเพิ่ม |
1.95 |
1.07 |
0.79 |
สาเหตุการตาย อันดับ 1 ได้แก่ โรคมะเร็งต่างๆ
อันดับ 2 ได้แก่ โรคแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน
อันดับ 3 ได้แก่ โรคCKD
ที่มา : จาก โปรแกรมระบบฐานข้อมูล (JHCIS ) ข้อมูล ณ วันที่ 1 ตุลาคม2565 - 30กันยายน 2566
4. การเจ็บป่วยที่สำคัญ ใน2566 พบว่าผู้ป่วยนอกที่เข้ารับบริการมากที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่
ตารางที่ 3 แสดงการเจ็บป่วยที่สำค
อันดับ อาการ จำนวน(ครั้ง)
1. โรคระบบหายใจ 1,856
2. โรคระบบกล้ามเนื้อ รวมโครงร่างและเนื้อยึดเสริม 829
3. โรคระบบไหลเวียนเลือด 746
4. โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตาบิริซึม 527
5.โรคผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 365
ที่มา : จาก รง.504 โปรแกรมระบบฐานข้อมูล (JHCIS ) ข้อมูล ณ วันที่ 1 ตุลาคม2565 - 30กันยายน 2566
5. สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
เป็นการแสดงถึงสถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 3 ปี ย้อนหลัง (2564- 2566) พบว่าโรคโควิด-19 พบมากที่สุด รองลงมาคือ โรคอุจาระร่วง โรคตาแดง และโรคสุกใส ตามลำดับ
ตารางที่4 แสดงจำนวนและอัตราการเกิดโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 5 อันดับแรก เปรียบเทียบ 3 ปี
ปี 2564 |
ปี 2565 |
ปี 2566 |
|||||||||
อัน ดับ |
โรค |
จำ นวน |
อัตรา : 1000 |
ลำ ดับ |
โรค |
จำ นวน |
อัตรา: 1000 |
ลำ ดับ |
โรค |
จำ นวน |
อัตรา : 1000 |
1 |
โควิด-19 |
14 |
2.51 |
1 |
อุจาระร่วง |
9 |
1.61 |
1 |
อุจาระร่วง |
12 |
2.15 |
2 |
อุจาระร่วง |
9 |
1.61 |
2 |
ตาแดง |
3 |
0.53 |
2 |
ตาแดง |
4 |
0.71 |
3 |
ตาแดง |
2 |
0.42 |
3 |
สุกใส |
2 |
0.36 |
3 |
ไข้เลือดออก |
2 |
0.36 |
4 |
สุกใส |
1 |
0.18 |
4 |
อาหารเป็นพิษ |
1 |
0.18 |
4 |
สุกใส |
2 |
0.36 |
ที่มา : จาก รง.506 โปรแกรมระบบฐานข้อมูล (JHCIS ) ข้อมูล ณ วันที่ 1 ตุลาคม2564 - 30กันยายน 2566
6. อันดับกลุ่มโรค/ ภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่
1. โรคเบาหวาน
2. โรคความดันโลหิตสูง
3. โรค CKD
4. ยาเสพติด
5. โรคไข้เลือดออก
ที่มา : จากการวิเคราะห์ปัญหา ของภาคีเครือข่ายในการร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการ เมื่อ 25 ตุลาคม 2566